เมื่อวันที่ 19 ก.พ. ราชกิจจานุเบกษา เผยแพร่พระราชบั
ญญัติแก้ไขเพิ่มเติ
มประมวลกฎหมายวิธีพิ
จารณาความอาญา (ฉบับที่ 33) พ.ศ.2562 โดยระบุว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิ
ราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้
าโปรดกระหม่อม ให้ประกาศว่าโดยที่เป็
นการสมควรแก้ไขเพิ่มเติ
มประมวลกฎหมายวิธีพิ
จารณาความอาญา จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติ(พ.ร.บ.) แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธี
พิจารณาความอาญา (ฉบับที่ 33) พ.ศ.2562 ขึ้นไว้ โดยให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถั
ดจากวันประกาศในราชกิจจานุ
เบกษาเป็นต้นไป
ทั้งนี้ ในพ.ร.บ.ดังกล่าวมีบทบัญญัติ 9 มาตรา อีกทั้งระบุถึงเหตุ
ผลในการประกาศใช้กฎหมายฉบับนี้ ว่า เนื่องจากบทบัญญัติของกฎหมายเกี่
ยวกับการไต่สวนมูลฟ้องในปัจจุบั
นยังไม่เอื้อต่อการคุ้มครองสิ
ทธิของจำเลย เนื่องจากจำเลยอาจไม่มี
ทนายความคอยช่วยเหลือ และไม่สามารถแถลงให้ศาลทราบถึ
งข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายอั
นสำคัญที่ศาลควรสั่งว่าคดีไม่มี
มูล และในชั้นพิจารณาคดีหากจำเลยไม่
มาศาล ศาลไม่สามารถสืบพยานต่อไปได้
จนกว่าจะได้ตัวจำเลยมาหรือกรณี
ที่ไม่มีผู้แทนอื่นของนิติบุ
คคลมาดำเนินการแทนนิติบุคคลนั้
นได้ ซึ่งทำให้เกิดความล่าช้าและส่
งผลกระทบต่อหลักการอำนวยความยุ
ติธรรมที่รวดเร็วและเป็นธรรม ตลอดจนส่งผลกระทบต่อความเชื่อมั่
นและความศรัทธาที่มีต่
อระบบศาลยุติธรรม สมควรแก้ไขเพิ่มเติ
มประมวลกฎหมายวิธีพิ
จารณาความอาญาในเรื่องดังกล่าว และโดยที่เป็นการสมควรให้การเรี
ยกเก็บค่าใช้จ่ายในการส่
งสำเนาคำฟ้องและหมายเรียกให้แก่
จำเลยมีจำนวนไม่สูงเกินสมควร
นอกจากนี้มีสาระสำคัญที่น่าสนใจ อาทิ ในคดีที่มีอัตราโทษประหารชีวิต หรือในคดีที่จำเลยมีอายุไม่เกิน 18 ปีในวันที่ถูกฟ้องต่อศาล ในการไต่สวนมูลฟ้อง ถ้าจำเลยไม่มีทนายความ ให้ศาลตั้งทนายความให้ และในคดีที่มีอัตราโทษจำคุก ในการไต่สวนมูลฟ้อง ถ้าจำเลยมาศาลโดยไม่มีทนายความ และจำเลยต้องการทนายความ ก็ให้ศาลตั้งทนายความให้ โดยให้ศาลจ่ายเงินรางวัลและค่
าใช้จ่ายแก่ทนายความที่ศาลตั้ง กรณีที่ศาลเห็นว่าจำเลยหลบหนี
หรือไม่มาฟังการพิจารณาและสื
บพยานโดยไม่มีเหตุอันสมควร ให้ศาลออกหมายจับจำเลย หากไม่ได้ตัวจำเลยมาภายใน 3 เดือนนับแต่วันออกหมายจับ เมื่อศาลเห็นเป็นการสมควรให้
การพิจารณาเป็นไปโดยไม่ชักช้า เพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมท และจำเลยมีทนายความ ให้ศาลมีอำนาจพิจารณาและสื
บพยานลับหลังจำเลยได้ และเมื่อศาลพิจารณาคดีเสร็จแล้ว ให้ศาลมีคำพิพากษาในคดีนั้นต่
อไป ทั้งนี้ต้องไม่ใช่คดีที่มีอั
ตราโทษประหารชีวิต หรือคดีที่จำเลยมีอายุไม่เกิน 18 ปีในวันที่ถูกฟ้องต่อศาล ขณะที่ในคดีที่ราษฎรเป็นโจทก์ โจทก์จะต้องเสียค่าใช้จ่
ายในการส่งสำเนาคำฟ้
องและหมายเรียกให้แก่จำเลยโดยค่
าใช้จ่ายดังกล่าวจะต้องมี
จำนวนไม่สูงเกินสมควร
อ่านรายละเอียดฉบับเต็มได้ที่นี่ คลิก